วันศุกร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2556



บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่18



สรุปงานวิจัย
 เรื่อง   ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน
             

ปริญญานิพนธ์   ของ  ศศิพรรณ สําแดงเดช   มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


ความสําคัญของการวิจัย

       ผลของการศกษาค ้นควาครั้งนี้จะเปนแนวทางใหกับครูและผูทเกี่ ี่ยวของกับการศึกษา

ปฐมวัยไดตระหนัก และเขาใจถึงความสําคัญในการสงเสริมทักษะพื้นฐานทางวทยาศาสตร์ให้กับเด็ก

ปฐมวัยดวยการทำกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน รวมทั้งเปนแนวทางในการทำกิจกรรมการ
ทดลองหลังการฟงนิทานใหมีความหมายและเกิดประโยชนตอการพัฒนาเด็กปฐมวัย

ความมุงหมายของการวิจัย


1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพนฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยทไดี่ รับการจัดกิจกรรม

การทดลองหลังการฟงนิทาน กอนและหลังการทดลอง
 2. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวยที่ไดรับ
การจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน กอนและหลังการทดลอง


คุณคาและประโยชนของนิทานที่มีตอเด็กปฐมวัย




เกริก ยุนพันธ (2539: 29) ไดกลาวถึงประโยชนของการเลานิทานดังนี้

 1. เด็กๆ หรือผูฟงจะเกิดความรูสึกอบอุนหรือใกลชิดเปนก ันเองกับผูเลา
 2. เด็กๆ หรือผูฟงจะเกิด ความรูสึกรวมในขณะฟง ทําใหเขาเกิดความเพลิดเพลนผิ อน
คลาย และสดชื่นแจมใส
 3. เด็กๆ หรือผูฟงจะมีสมาธิหรือความตงใจท ั้ ี่มีระยะเวลานานขึ้นหรอยาวข ื ึ้น โดยเฉพาะ
ผูเลาที่มีความสามารถในการตรึงใหผูฟงหรือเด็กๆ ใจจดจออยูกับเรื่องราวที่ผูเลาเลาเร ื่องที่มีขนาดยาว
 4. เด็กหรือผูฟงจะถูกกลอมเกลาดวยนทานท ิ ี่มีเนื้อหาสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรม
ทําใหเด็กๆ และผูฟงเขาใจในความดีและความงามยิ่งขึ้น
 5. นิทานจะทําใหเด็กๆ หรือผูฟงมีความละเอียดออนรูจักการรับและการใหมองโลกใน
แงดี
 6. นิทานจะทําใหเด็กหรือผูฟงสามารถใชกระบวนการค  ดในการพ ิ ิจารณาแกปญหาได
 7. นิทานสามารถสรางความกลาใหกับเดกๆ็ หรือผูฟงโดยการแสดงออกผาน
กระบวนการคดทิ ี่มีประสิทธภาพ ิ
 8. เด็กๆ และผูฟงจะไดความร  ูที่เปนประโยชน  และสามารถประยุกตใชกับชวีตประจ ิ ําวันได
 9. นิทานชวยเสริมสรางจินตนาการที่กวางไกลไร  ขอบเขตใหกับเด็กหรือผูฟง
 10. นิทานสามารถชวยเด็กๆ และผูฟงได  รูจักการใชภาษาที่ถูกตอง

รูปแบบของการเลาน ิทาน

เกริก ยุนพันธ (2539: 36-55) ไดกลาวถงรึ ูปแบบของการเลานิทานดังนี้

 1. การเลานิทานปากเปลาเปนนิทานที่ผูเลาเรื่องจะตองเตรียมตวใหั พรอม ตั้งแต
การเลือกเรื่องใหเหมาะสมและสอดคลองกับกลุมผูฟง นิทานปากเปลาเปนนิทานที่ดึงดูดและเรา
ความสนใจของผูฟงดวย น้ําเสียงแววตาลีลาและทาทางประกอบการเลาของผูเลาที่สงางามและ
พอเหมาะพอดี27 
 2. นิทานวาดไปเลาไป  เปนการเลานิทานที่ผูเลาตองมีประสบการณการเลาน ิทาน
แบบปากเปลาอย  ูมากพอสมควรแตจะตองเพ  ิ่มการวาดรูปในขณะเลาเรื่องราวรปทู ี่วาดขณะเลา
เรื่องนี้ภาพที่วาดออกมาอาจสอดคลองกับเรื่องที่เลา หรือบางครั้งเมื่อเลาจบ รูปทวาดจะไม ี่ 
สอดคลองกับเรื่องที่เลาเลยก็ไดคือจะไดภาพใหมเกิดขึ้น
 3. นิทานที่เลาโดยใชสื่ออุปกรณขณะเลาเปนนิทานที่ผูเลาจะตองใชสื่อทจี่ ัดเตรียม
หรือหามาเพื่อใชประกอบการเลาเชน การเลาโดยใชหน ังสือ นิทานหุนนิ้ว นิทานเชิด นิทานเชือก
เปนตน ขณะเลาอาจมีดนตรีประกอบหรอเคร ื ื่องดนตรีประกอบจังหวะเพื่อประกอบการเลาให
สนุกสนานยิ่งขึ้น


หลักในการเลือกนิทานที่จะนํามาเลาใหเด็กฟง



พรจันทรจันทรวิมล (2529: 104) ไดใหหลักเกณฑในการเลือกนิทานดังนี้

1. เปนเรื่องงายๆ แตสมบูรณเนนเหตุการณอยางเดยวให ี เด็กพอคาดคะเนเรื่อง
ไดบาง
 2. มีการเดินเรื่องอยางรวดเร็ว
 3. ตัวละครนอย มีลักษณะเดนที่จําไดงาย เด็กอาจสมมติตวแทนได ั 
 4. มีบทสนทนามากๆ เพราะเด็กสวนมากไมสามารถฟงเรื่องที่เปนความเรียงไดดี
 5. ใชภาษางายๆ ประโยคสนๆั้ การกลาวคําซ้ําๆ หรือคําสัมผัสจะชวยใหเด็ก
จดจําไดงายและรวดเรว็
 6. สรางความรูสึกความพอใจใหกับผูฟง
 7. เปนเรื่องใกลตวเด ั ็ก เชน ครอบครัวสัตวเล ี้ยง หรอเร ื ื่องที่เด็กจินตนาการตามได
 8. ความยาวไมเกิน 15 นาที
อุไรวรรณ โชติชุษณะ(2547: 53) กลาววาในการเลาเร ื่อง หรือการเลานิทานใหแก เด็ก
ผูเลาสามารถเลือกใชวิธีการเลาที่หลากหลายไดโดยเลอกว ื ิธีการเลาดวยปากเปลา การเลาประกอบ
ทาทาง การเลาประกอบอ  ุปกรณการเลาประกอบภาพ การเลาประกอบเสียงโดยเลือกใชวธิีการ
อยางใดอย  างหนึ่ง หรือใชวิธีการเลาหลายอยางประกอบก็ไดเพื่อเปนการกระตุนความสนใจใหแก 
เด็ก และเปนการสงเสริมจินตนาการใหแก 

สรุป  

ไดวาวิธการเลานิทานนนั้ จะตองประกอบไปดวย การเลือกเรื่องที่จะใชเลา
การดัดแปลงเนื้อเรื่องใหเหมาะสมกับกลมผุ ฟู ง การเตรียมตวและจัดเตรียมสื่อการเลานิทานของผูเลา
การลงมือเลานิทาน ผูเลาจะตองเลาใหราบรื่นโดยตลอด ดวยรูปแบบและเทคนิคเฉพาะของผูเลาเอง 
สถานที่และเวลาที่ใชเล านิทาน ผูเลาจะตองพิจารณาเพื่อความเหมาะสม และมีกระบวนการเลาท ี่ดี
ตั้งแตการเริ่มเรื่อง การดําเนินเรื่องและการจบเรื่อง




แผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทานเพื่อพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร


  

 เรื่อง     ลูกไกกับลูกเปด

1.จุดประสงคการเรียนรู้

เมื่อเด็กไดฟงนิทานที่ครูเลาแลว สามารถตอบคําถามและทํากิจกรรมทดลองเกี่ยวกับเรื่องการ
ทดลองเรื่องลอย-จมของวัตถุ
2. กิจกรรมการเลานิทาน
 2.1 ขั้นนํา ครูและเดกร็ วมกนรั องเพลงประกอบทาทางลูกเปด และสนทนาเกยวกี่ ับนิทานที่
ครูจะเลาดังนี้
 - นิทานที่ครูจะเลาวันนี้เปนเรื่องลูกไกกับลกเปู ดที่เปนเพ อนก ื่ ันทั้งสองตางก็ผจญภยไปในท ั ี่
ตางๆมากมาย
 2.2 ขั้นเลานิทาน ครูเลานิทานประกอบภาพและชักชวนใหเดกส็ ังเกตถึงชวงของนิทานที่มี
เรื่องการลอยหรือจมของวตถั ุครูซักถามใหเด็กๆ ตอบ
เนื้อเร่องื
กก
-หลังจากเด็กฟงนิทานและรวมตอบคําถาม ครูชักชวนเด็กๆทําการทดลองเกี่ยวกับการทํากิจกรรมการ
ทดลองเรื่อง “ ลอย-จม”
อุปกรณ
1. กะละมังใสน้ําประมาณ 3 ใน 4 สวน
2. กลองดําที่ทําชองใหมือลวงเขาไปได
3. วัตถุที่ลอยน้ําได 5 ชิ้นวตถั ุที่จมน้ํา 5 ชิ้น (วัตถุที่มีสีตางๆจะช  วยดึงดูดความสนใจของเด็ก)
วันหนึ่งในฤดูฝน เมฆตั้งเคาดําทะมึน ไมนานฝนก็ตกลงมาฝนตกหนักมาก พายุก็พัดแรง ตนไมใหญ
หลายตนทานพายุไมไหวก็หักโคนลงมา ตนไมใหญไมรูจักหลบพายุตนออตนกกขึ้นอยูในน้ํา ตนออตนกกไม
เกรงพายุมันเอนตนออนไปมาตนออตนกกรูจักหลบพายุที่สระน้ําแหงหนึ่ง น้ําใสสะอาดมีฝูงปลาวายไปมา
บางก็ฮุบกินอาหารกอบัวขึ้นอยูในน้ําชูดอกไสวฝูงผึ้งบินหาเกสรดอกไมลูกไกบินขึ้นหลังลูกเปดลูกเปดพา
ลูกไกวายน้ําอยางสุขสําราญลูกไกไมกลัวจมน้ําเพราะมีลูกเปดคอยชวยเมื่อมันเลนจนพอใจแลวก็ชวนกันขึ้น
จากน้ําเดินกลับบาน “กิ๋วๆ” ลูกเปดรอง “เจี๊ยบๆ” ลูกไกรองบางในทันใดนั้นลูกไกก็ตกหลุมขางทาง “เจี๊ยบๆ
ชวยดวย” ลูกไกรองลั่น “กิ๋ว ๆรอเดี๋ยวนะ ฉันจะชวยเธอ” ลูกเปดตอบ ลูกเปดวิ่งไปหาแขนงไมยาวๆ มาสงให
ลูกไกลูกไกใชจะงอยปากคาบไมปนขึ้นมาได “ขอบใจเพื่อนมาก” ลูกไกเอาปกโอบกอดเพื่อนลูกเปดไม
ทอดทิ้งลูกไกใหตกอยูในหลุม วันตอมาลูกเปดกับลูกไกก็ไปเที่ยวยังสระน้ําที่เดิมอีก พอเลนน้ําเสร็จก็พากัน
เดินกลับบาน เผอิญลูกเปดเหยียบพลาดจึงตกหลุมเดินนั่นอีก “ กิ๋วๆชวยดวย” ลูกเปดรอง “เจี๊ยบๆ รอเดี๋ยวนะ
ฉันจะชวยเธอ” ลูกไกตอบลูกไกวิ่งไปหาแขนงไมมาใหลูกเปดจับปนขึ้นมาแตลูกเปดวายน้ําจนหมดแรงจึงปน
ขึ้นมาไมไหวไดแตนั่งคอตกหมดหวัง มันไมสงเสียงรองอีกตอไป “เจี๊ยบๆ รอเดี๋ยวนะ ฉันจะหาวิธีใหม” 
ลูกไกวิ่งไปตักน้ํามาใสหลุม มันวิ่งไปตักน้ําหลายเที่ยวจนแทบหมดแรงแตมันไมทอถอยพยายามตอไปลูกไก
รักเพื่อนของมัน ไมนานนักลูกไกก็ตักน้ําใสหลุมจนเต็มลูกเปดจึงลอยขึ้นมาได(ทําไมลูกเปดจึงลอยน้ําได
ทักษะการสังเกต การสื่อสาร) “ขอบใจเพื่อนมากจะเราไปหาอะไรมากถมหลุมเถอะจะไดไมมีใครตกหลุมอีก” 
“ดีจริงๆ” ลูกไกเห็นดวย ทั้งลูกไกและลูกเปดชวยกันขนดินไปถมในหลุมนั้นจนเต็ม มันเอาเทาเหยียบดินจน
แนนเปนพื้นเดียวกันลูกไกกับลูกเปดจึงไมตกหลุมอีกหานแมว สุนัขและใครๆ ก็ไมเคยตกหลุมอีกลูกไกกับ
ลูกเปดเปนเพื่อนรักกันยิ่งกวาเดิมเพราะมันรูจักแกปญหารวมกัน78

วิธีทดลอง

1. ใหเด็กหยิบลกปู งปองกับมะนาวในกลองดําขึ้นมา (เด็กๆมองไมเห็นวัตถุในกลองจะตองใชวิธี
สัมผัสและเดาจึงจะไดผลมะนาวและลูกปงปอง) 
2. ปลอยลูกปงปองและผลมะนาวลงไปในอางน  ้ําใหสังเกตวาเกิดอะไรขึ้น
คําถาม
- ลูกปงปองและมะนาวมีรูปรางอยางไร ผิวเรียบหรือไม
- ลูกปงปองกับมะนาวอะไรหนักกวากัน
- เมื่อปลอยลูกปงปองและมะนาวลงไปในอางน้ําลูกปงปองอยูบนน้ําหรืออยูใตน้ํา มะนาวอยูบนน้ําหรือ
อยูใตน้ํา
* ครูอธิบายใหเด็กรูจักคําวาลอยและจม โดยสังเกตลูกปงปองอยูบนผิวน้ําเรียกวาลอยน  ้ําสวน
ผลมะนาวอยูใตน้ําเรียกวาจมน้ําแนวคิดเบื้องตนที่เดกๆระด ็ ับอนุบาลจะไดจากการทดลองนี้คือสิ่งที่
เบาจะลอยน้ําสิ่งที่หนักจะจมน้ํา
2.3 . ขั้นสรุป
การวัดและประเมินผลการทากํ ิจกรรมการทดลอง
 - สังเกต จากความสนใจและการมีสวนรวมในการทําการทดลอง
 - การตอบคําถามของเดก็
คําถาม
‐ คอปเตอรของใครรอนไดสวยกวากัน
‐ อะไรชวยใหคอปเตอรรอนได
2.3 ขั้นสรุป
การวัดและประเมินผลการเลานิทาน
 - สังเกต จากความสนใจและการมีสวนรวมในการเลานิทาน


วันอังคารที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่17


อาจารย์พูดเรื่องการทำบล็อก  และ เรื่อง ข้อสอบ 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน  ได้แก่      
1.   ทักษะการสังเกต      
2.   ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล      
3.   ทักษะการจำแนกประเภท     
4.   ทักษะการวัด             
5.   ทักษะการใช้ตัวเลข                          
6.   ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล    
7.   ทักษะการพยากรณ์  
8.   ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา

 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสม  ได้แก่      
1.   ทักษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร   
2.   ทักษะการตั้งสมมุติฐาน     
3.   ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ   
4.   ทักษะการทดลอง       
5.   ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป



อาจารย์ให้ส่งงานของเล่นของแต่ละคนที่ได้ทำมา และให้ส่งงานกลุ่มที่ทำของเล่นเข้ามุม




เพิ่มเติม



วันอังคารที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2556


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่16

     อาจารย์ให้เพื่อนที่เขียนแผนทำแกงจืด ที่แต่ละกลุ่มได้เลือกทำแกงจืดในสัปดาห์ที่แล้ว นำมาสอนให้กับเพื่อนๆในห้อง วิธีการทำแกงจืดดังนี้


ขั้นตอนการทำแกงจืดแฟนตาซี






คาวมรู้เพิ่มเติม





วันอังคารที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2556


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่15


   เรียนกับอาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน

          - อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม กลุ่มละ 8-10 คน และแจกกระดาษให้กลุ่มละ 4 แผ่น ได้เรียนเกี่ยวกับการเขียนแผน การจัดประสบการณ์การทำอาหาร ดังนี้

ให้ความหมายของคำว่า cooking แล้วสรุปออกมา ได้ดังนี้




วิธีการทำราดหน้า




ทำแผนการสอนเรื่อง มาทำราดหน้ากันเถอะ




การทำแผน Cooking ของกลุ่มเพื่อนๆ





วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2556



บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่14


วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน2556 เรียนชดเชยที่หยุดไปวันจันทร์ที่ 9กันยายน 2556


กิจกรรม

อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอสื่อเข้ามุมวิทยาศาสตร์ กลุ่มดิฉันนำเสนอ "เขาวงกต"





ผลงานของเพื่อนๆ ที่ยังค้างจากวันจันทร์




วันอังคารที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2556


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่13







  ไม่มีการเรียนการสอนเพราะอาจารย์ติดธุระ นัดเรียนชดเชยในวัน อาทิตย์ ที่ 15 กันายน2556 





บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่13


อาจารย์ให้แต่ล่ะกลุ่มนำเสนอของเข้ามุม

กลุ่ม 1 การมองเห็นของผ่านวัตถุโปร่งใส โปร่งแสง และทึบแสง
กลุ่ม 2 กล่องนำแสง
กลุ่ม 3 สัตว์ไต่เชือก
กลุ่ม 4 กีตาร์กล่อง
กลุ่ม 5 วงจรผีเสื้อและไก่
กลุ่ม 6 เขาวงกต
กลุ่ม 7 มองวัตถุผ่าแว่นขยาย
กลุ่ม8 ภาพมิติ
กลุม9กล่องดนตรี
กลุ่ม10วงจรชีวิต
กลุ่ม11 ซู่โม้


ผลงานเพื่อนๆแต่ละกลุ่มที่ได้นำเสนองานมีดังนี้




เพิ่มเติม





วันจันทร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่12




                                      ไม่มีการเรียนการสอน เพราะอาจารย์จัดงานเกษียณอายุราชการ





มุทิตา แปลว่า ความยินดีความเป็นผู้มีความยินดี
มุทิตา หมายถึงความพลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี คือเมื่อผู้อื่นได้รับความสำเร็จ มีความสุขความเจริญก้าวหน้า ก็พลอยชื่นชมยินดีในสิ่งที่เขาได้รับ ไม่มีความอิจฉาริษยาในความสำเร็จของเขา ด้วยการพูดแสดงความยินดีบ้าง ส่งบัตรอวยพรไปแสดงความยินดีบ้าง มอบของขวัญมอบกระเช้าดอกไม้แสดงความยินดีบ้างเป็นต้น
ลักษณะของผู้มีมุทิตา คือเป็นคนไม่ริษยา ยอมรับในความดีและความสำเร็จของคนอื่น แสดงความชื่นชมยินดีกับความสำเร็จของคนอื่นได้ด้วยความเต็มใจ
มุทิตา เป็นคุณธรรมของผู้ใหญ่และเป็นหลักที่ผู้ใหญ่พึงประพฤติ เมื่อเกิดขึ้นแล้วก็จะกำจัดความไม่ยินดี ความขึ้งเคียด ความอิจฉาริษยาลงได้


วันจันทร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2556


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่11

เนื้อหาสาระความรู้

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มี 4 ขั้นดังนี้


  1. การตั้งสมมุติฐาน
  2. การทดลอง
  3. การวิเคราะห์ข้อมูล
  4. การสรุป

           - อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกไปนำเสนองาน การทดลองวิทยาศาสตร์ ของดิฉันคือ

การทดลอง แสงดาวที่หายไป





ชื่อผลงานของเพื่อนๆ


กลุ่ม  1    กังหันไฟฟ้าสถิต
กลุ่ม  2    แรงตึงผิว
กลุ่ม  3    เป่าลูกโป่งในขวด
กลุ่ม  4    การเกิดของฟองสบู่
กลุ่ม  5    ไข่ในน้ำเกลือ 
กลุ่ม  6     แสงดาวที่หายไป
กลุ่ม  7     วัตถุโปร่งใส โปร่งแสง ทึบแสง
กลุ่ม  8     การทดลองลาวา
กลุ่ม  9     หลอดดูดไม่ขึ้น
กลุ่ม  10   หมึกล่องหน
กลุ่ม  11   เป่าลูกโป่งด้วยผงฟู
กลุ่ม  12   เทียนไขดูดน้ำ
กลุ่ม  13   กาวอวกาศ
กลุ่ม  14   ฟีล์มสีรุ้ง
กลุ่ม  15   เปลวไปลอยน้ำ


นี้คือผลงานเพื่อนๆมีดังนี้





วันอาทิตย์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่10


วันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม 2556    เรียนชดเชย

       - อาจารย์ให้เพื่อนแต่ละคนออกไปนำเสนอของเล่นที่ตนได้นำเสนอไปเมื่อวันจันทร์ ที่ 15 กรกฏาคม 2556

การนำเสนอของเพื่อน







เพิ่มเติม

วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในธรรมชาติ และกระบวนการค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอน
วิทยาศาสตร์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
  1. วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ (pure science) เป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์
    ขั้นพื้นฐานที่ได้จากการค้นพบในธรรมชาติ ได้แก่ ข้อเท็จจริง หลักการ กฎ ทฤษฎี ได้แก่วิชาการต่างๆ เช่น ชีววิทยา ฟิสิกส์ เคมี ฯลฯ เราเรียกนักวิทยาศาสตร์ด้านนี้ว่า นักวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวันได้แก่ แพทย์ศาสตร์ เภสัชศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และคอมพิวเตอร์เป็นต้น
ตัวอย่างนักวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ที่มีชื่อเสียง เช่น
    • อาร์คีเมเดส ผู้ค้นพบวิธีการหาปริมาตรของวัตถุโดยการแทนที่น้ำ
    • เซอร์ ไอแซก นิวตัน ผู้ตั้งกฎของความโน้มถ่วง กฎการเคลื่อนที่ของวัตถุ ทฤษฎีเกี่ยวกับการหักเหของแสง
    • ชาลส์ ดาร์วิน ผู้ตั้งทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
    • แอลเบริ์ต ไอน์สไตน์ ผู้ค้นพบทฤษฎีสัมพันธภาพของไอน์สไตน์

วันจันทร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่9
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันแม่
 แต่เดิมนั้น วันแม่ของชาติได้กำหนดเอาไว้วันที่ 15 เมษายนของทุก ๆ ปี ทั้งนี้เป็นไปตามมติของคณะรัฐมนตรีประกาศรับรอง เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2493 ซึ่งได้พิจารณาเห็นว่าการจัดงานวันแม่ของสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติผู้รับมอบหมายให้จัดงาน วันแม่ มาตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน พ.ศ.2493 เป็นครั้งแรกเป็นต้นมานั้นได้รับความสำเร็จด้วยดี ด้วยประชาชนให้การสนับสนุน จนสามารถขยายขอบข่ายของงานให้กว้างขวางออกไป

มีการจัดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา การประกวดคำขวัญวันแม่ การประกวดแม่ของชาติ เพื่อให้เกียรติและตระหนักในความ สำคัญของแม่ และเพื่อเพิ่มความสำคัญของวันแม่ให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป ด้วยเหตุนี้งานวันแม่จึงเป็นวันแม่ประจำปีของชาติตามประกาศของรัฐบาลฯพณฯ จอมพล ป.พิบูลสงคราม แต่โดยทั่วไปเรียกกันว่าวัน แม่ของชาติ

ต่อมาถึง พ.ศ.2519 ทางราชการได้เปลี่ยนใหม่ให้ถือเอาวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ คือ วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันแม่แห่งชาติ เริ่มในปี พ.ศ.2519 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน

กิจกรรมต่าง ๆ ที่ควรปฏิบัติในวันแม่แห่งชาติ 1. ประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรือน
2. จัดกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับวันแม่ เช่น การจัดนิทรรศการ
3. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ทำบุญใส่บาตรอุทิศส่วนกุศล เพื่อรำลึกถึงพระคุณของแม่
4. นำพวงมาลัยดอกมะลิไปกราบขอพรจากแม่

วันอาทิตย์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นช่วงการสอบกลางภาคเรียน



วันศุกร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่7
 ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจาก ขออาจารยืหยุดอ่านหนังสือเพื่อเตรียมตัวสอบ





วันอังคารที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่6

ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากตรงกับวันอาสาฬหบูชา
 
วันอาสาฬหบูชา เป็นวันที่สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าได้แสดง พระปฐมเทศนา หรือการแสดง พระธรรมครั้งแรก หลังจากที่ตรัสรู้ได้ 2 เดือน เป็นวันที่เริ่มประดิษฐานพระพุทธศาสนาเนื่องจากมีองค์ประกอบของ พระรัตนตรัยครบถ้วนคือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นก่อนพุทธศักราช 45 ปี ในวันเพ็ญ (ขึ้น 15ค่ำ) เดือน 8 ดวงจันทร์ เสวยมาฆฤกษ์
การแสดงพระปฐมเทศนา ได้ทรงแสดงแก่ปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ปัจจุบันคือสารนาถ เมืองพาราณสี พระธรรมที่แสดงคือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เมื่อเทศนาจบ พระโกณฑัญญะ หนึ่งในปัญจวัคคีย์ ผู้ประกอบด้วย พระโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานาม และพระอัสสชิ ก็ได้ดวงตาเห็นธรรม มีความเห็นแจ้งชัดว่า

ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมนฺติ

สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งใดสิ่งนั้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา
เมื่อได้ดวงตาเห็นธรรมจึงขออุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าก็ประทานอุปสมบทให้ ด้วยวิธีที่เรียกว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา โดยกล่าวคำว่า เธอจงเป็นภิกษุมาเกิด พระโกณฑัญญะจึงเป็น พระอริยสงฆ์องค์แรก
คำว่าธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แปลว่าสูตรของการหมุนวงล้อแห่งพระธรรมให้เป็นไปมีความโดยย่อว่า
ที่สุด 2 อย่างที่บรรพชิตไม่ควรประพฤติปฏิบัติคือ การประกอบตนให้อยู่ในความสุขด้วยกาม ซึ่งเป็นธรรมอันเลวเป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ที่สุดอีกทางหนึ่งคือ การประกอบการทรมานตนให้เกิดความลำบาก ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
การดำเนินตามทางสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ที่สุดทั้งสองอย่างนั้น เป็นเรื่องที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตาและญาณให้เกิด เป็นไปเพื่อความสงบระงับ ความรู้ยิ่ง ความตรัสรู้ และนิพพาน ทางสายกลาง ได้แก่ อริยมรรค มีองค์แปด คือ ปัญญาอันเห็นชอบ ดำริห์ชอบ เจรจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ และตั้งใจชอบ อริยสัจสี่ คือความจริงอันประเสริฐที่พระองค์ค้นพบ มี 4 ประการได้แก่
ความทุกข์ ได้แก่ ความเกิด ความแก่ ความตาย ความได้พบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่ได้สิ่งนั้น ว่าโดยย่อ อุปาทานในขันธ์ 5 เป็นทุกข์
สาเหตุแห่งทุกข์ ได้แก่ ตัณหาความทะยานอยาก อันทำให้เกิดอีกความกำหนัด เพลิดเพลินในอารมณ์ คือกามตัณหา ความทะยานอยากในกาม ภวตัณหา ความทะยานในภพ วิภวตัณหา ความทะยานอยากในความไม่มีภพ

ความดับทุกข์ โดยการดับตัณหาด้วยอริยมรรค คือ วิราคะ สละ ดับ ปล่อยไป ไม่พัวพัน

หนทางปฏิบัติเพื่อดับทุกข์ ได้แก่ อริยมรรคมีองค์ 8 คือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การเจรจาชอบ การกระทำชอบ การเลี้ยงชีพชอบ ความพยายามชอบ การระลึกชอบ และการตั้งจิตมั่นชอบ

ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแก่พระองค์ว่า

นี้เป็นทุกข์ อันควรกำหนดรู้ และพระองค์ ได้กำหนดรู้แล้ว

นี้เป็นสาเหตุแห่งทุกข์ อันควรละ และพระองค์ ได้ละแล้ว

นี้เป็นความดับทุกข์ อันควรทำให้แจ้ง และพระองค์ ได้ทำให้แจ้งแล้ว

นี้เป็นหนทางดับทุกข์ อันควรเจริญ และพระองค์ ได้เจริญแล้ว

สรุปได้ว่า ปัญญาอันรู้เห็นแจ้งชัดตามความเป็นจริงในอริยสัจ 4 มีรอบ 3 มีอาการ 12 คือ ขั้นแรก รู้ว่า อริยสัจแต่ละอย่างนั้นเป็นอย่างไร ขั้นที่สองรู้ว่าควรจะทำอย่างไรในอริยสัจแต่ละประการนั้น และขั้นที่ 3 พระองค์ได้ กระทำตามนั้นสำเร็จเสร็จแล้ว
พระองค์ทรงเน้นว่า จากการที่พระองค์ทรงค้นพบ คือตรัสรู้อริยสัจ 4 ประการนี้ การที่พระองค์ทรงกล้าปฏิญญา ว่าเป็นผู้ตรัสรู้พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ เพราะพระองค์ได้รู้เห็นแจ้งชัดตามความเป็นจริง ในอริยสัจ 4 มี รอบ 3 มีอาการ 12 อย่างหมดจดดีแล้ว
เมื่อพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงประกาศพระธรรมจักร ให้เป็นไปแล้ว ได้มีการบันลือต่อ ๆ กันไปให้ทราบทั่วกันว่า พระธรรมอันยอดเยี่ยมที่พระองค์ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เขตเมืองพาราณสี อันใคร ๆ ในโลกจะปฏิวัติไม่ได้
พระองค์ทรงเน้นว่า จากการที่พระองค์ทรงค้นพบ คือตรัสรู้อริยสัจ 4 ประการนี้ การที่พระองค์ทรงกล้าปฏิญญา ว่าเป็นผู้ตรัสรู้พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ เพราะพระองค์ได้รู้เห็นแจ้งชัดตามความเป็นจริง ในอริยสัจ 4 มี รอบ 3 มีอาการ 12 อย่างหมดจดดีแล้ว
เมื่อพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงประกาศพระธรรมจักร ให้เป็นไปแล้ว ได้มีการบันลือต่อ ๆ กันไปให้ทราบทั่วกันว่า พระธรรมอันยอดเยี่ยมที่พระองค์ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เขตเมืองพาราณสี อันใคร ๆ ในโลกจะปฏิวัติไม่ได้
พระองค์ทรงเน้นว่า จากการที่พระองค์ทรงค้นพบ คือตรัสรู้อริยสัจ 4 ประการนี้ การที่พระองค์ทรงกล้าปฏิญญา ว่าเป็นผู้ตรัสรู้พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ เพราะพระองค์ได้รู้เห็นแจ้งชัดตามความเป็นจริง ในอริยสัจ 4 มี รอบ 3 มีอาการ 12 อย่างหมดจดดีแล้ว
เมื่อพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงประกาศพระธรรมจักร ให้เป็นไปแล้ว ได้มีการบันลือต่อ ๆ กันไปให้ทราบทั่วกันว่า พระธรรมอันยอดเยี่ยมที่พระองค์ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เขตเมืองพาราณสี อันใคร ๆ ในโลกจะปฏิวัติไม่ได้
วันอาสาฬหบูชามีเหตุการณ์สำคัญในทางพระพุทธศาสนาอยู่ 3 ประการคือ
1. เป็นวันแรกที่พระพุทธเจ้าทรงประกาศพระศาสนา โดยทางแสดงพระปฐมเทศนา คือ ธรรมจักกัปปวัตนสูตร ประกาศสัจธรรมอันเป็นองค์แห่งพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณที่พระองค์ตรัสรู้ ให้เป็นที่ประจักษ์แก่ สรรพสัตว์ทั้งหลาย
2. เป็นวันแรกที่บังเกิดพระอริยสงฆ์สาวกขึ้นในโลก คือ พระโกณฑัญญะ เมื่อได้ฟังพระปฐมเทศนาจบ ได้ดวงตาเห็นธรรม ได้ทูลขออุปสมบท และพระพุทธเจ้าได้ประทานอุปสมบทให้ด้วยวิธีเอหิภิกษุอุปสัมปทา ในวันนั้น
3. เป็นวันแรกที่บังเกิดพระรัตนตรัย คือ พระพุทธรัตนะ พระธรรมรัตน และพระสังฆรัตนะ ขึ้นในโลกอย่างสมบูรณ์บริบูรณ์

วันอาทิตย์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5

-วันนี้อาจารย์ให้นำเสนองานสิ่งประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์ทุกคน และพร้อมให้คำแนะนำ ในการประดิษฐ์อาจารย์ได้แบ่งออกเป็น 3ชิ้น คือ
1.งานประดิษฐ์ของเล่น
2.งานประดิษฐ์ที่ใช้ในมุมวิทยาศาสตร์
3.งานประดิษฐ์สำหรับทดลอง
4. อาจารย์ได้เปิด VDO iSci ความฉลาดแบบยกกำลังสอง เรื่อง ลูกโป่งรับน้ำหนัก(เหตุที่ลูกโป่งพองลมสามารถรับน้ำหนักได้มากกว่าที่เราคิด เป็นเพราะน้ำหนักที่วางบนแผ่นกระดานกระจายไปทั่วๆแผ่นกระดานประกอบกับแรงดันอากาศจากลูกโป่งทุกลุกที่วางไว้จึงทำให้ลุกโป่งรับได้โดยไม่แตก )  / รายการรอบรู้โลกวิทยาศาสตร์ เรื่อง เมล็ดจะงอกไหม



วันพฤหัสบดีที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนครั้งที่4
 -อาจารย์ให้กระดาษ A4 กับนักศึกษาคนละ 1 แผ่น แล้วให้พับเป็น8ช่อง เพื่อตัดเป็นสมุดเล่มเล็ก จากนั้นให้วาดเป็นรูปอะไรก็ได้ โดยเพื่อรายละเอียดไปทีละ1หน้า 
-อาจารย์ให้ดูvdo เรื่องของ อากาศมหัศจรรย์

ประโยชน์ที่ได้รับ คือ

-ใบไม้ล่วงมาได้อย่างไร- เพราะลม ลมคืออากาศที่เคลื่อนที่ได้ รอบตัวเรามีสิ่งที่เรียกว่าอากาศ อากาศมีได้ทุกที่ รอบตัวเรามีอากาศอยู่ด้วยแต่จับต้องไม่ได้ อากาศไม่มีสี ไม่มีรสชาติ และไม่มีกลิ่น แต่อากาศจะแทรกตัวอยู่ทุกๆที่ รอบๆ ตัวเรา


- บนพื้นโลกมีลมพัดตลอดเวลา บนพื้นโลกจะมีความร้อนไม่เท่ากัน อากาศร้อนบนพื้นจะดันลอยให้อากาศขึ้นมา อากาศเย็นของน้ำจึงเข้ามาแทนที่ และแต่ละที่มีความร้อนเย็นต่างกัน ลมพัดตามมาเข้าบ้านตามทิศทางอากาศซึ่งอากาศร้อนจะมีน้ำหนักเบากว่าอากาศเย็น อากาศจะมีการปรับสมดุลอยู่ตลอดเวลา ซึ่งจะทำให้เกิดปรากฎการณ์ที่เรียกว่า “ลม”

ประโยชน์ของลม


อากาศที่เคลื่อนที่ย่อมเกิดพลัง เราใช้ประโยชน์จาก พลังของลมได้หลายทางเช่น ใช้หมุนกังหันลม เพื่อช่วย บดข้าวโพด ให้เป็นแป้งหรือ เพื่อการผลิต กระแสไฟฟ้า ใช้หมุนกังหันวิดน้ำ และใช้สำหรับ การแล่นเรือใบเป็นต้น

- อาจารย์ให้ออกไปPresent “ของเล่นวิทยาศาสตร์” ของแต่ละคน (ซึ่งของดิฉันนำเสนอ จรวดอวกาศ)

วันพุธที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนครั้งที่3
 -อาจารย์ได้พูดถึงในสัปดาห์ที่แล้วว่าได้เรียนอะไรไปแล้วบ้าง และใตอนท้ายคาบ อาจารย์ได้เปิด วีดิโอ เรื่อง ความลับของแสงให้ดู


เนื้อหา ความลับของแสง มีดังนี้

แสงเป็นพลังงานรูปหนึ่ง เดินทางในรูปคลื่นด้วยอัตราเร็วสูง 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที แหล่งกำเนิดแสงมีทั้งแหล่งกำเนิดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น แสงดวงอาทิตย์ที่เป็นแหล่งพลังงานของสิ่งมีชีวิต แหล่งกำเนินแสงที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น แสงสว่างจากหลอดไฟ เป็นต้น
เมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านกลุ่มควันหรือฝุ่นละออง จะเห็นเป็นลำแสงเส้นตรง และสามารถทะลุผ่านวัตถุได้ วัตถุที่ยอมให้แสงเคลื่อนที่ผ่านเป็นเส้นตรงไปได้นั้น เราเรียกวัตถุนี้ว่า วัตถุโปร่งใส เช่น แก้ว อากาศ น้ำ เป็นต้น ถ้าแสงเคลื่อนที่ผ่านวัตถุบางชนิดแล้วเกิดการกระจายของแสงออกไป โดยรอบ ทำให้แสงเคลื่อนที่ไม่เป็นเส้นตรง เราเรียกวัตถุนั้นว่า วัตถุโปร่งแสง เช่น กระจกฝ้า กระดาษไข พลาสติกฝ้า เป็นต้น ส่วนวัตถุที่ไม่ยอมให้แสงเคลื่อนที่ผ่านไปได้ เราเรียกว่า วัตถุทึบแสง เช่น ผนังคอนกรีต กระดาษแข็งหนาๆ เป็นต้น วัตถุทึบแสงจะสะท้อนแสงบางส่วนและดูดกลืนแสงบางส่วนไว้ทำให้เกิดเงาขึ้น
 
การสะท้อนของแสง
เป็นปรากฏการณ์ที่แสงเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นค่าหนึ่งมายังตัวกลางที่มีค่าความหนาแน่นอีกตัวหนึ่ง ทำให้แสงตกกระทบกับตัวกลางใหม่ แล้วสะท้อนกลับสู่ตัวเดิม เช่น การสะท้อนของแสงจากอากาศกับผิวหน้าของกระจกเงาจะเกิดการสะท้อนแสงที่ผิวหน้าของกระจกเงาราบแล้วกลับสู่อากาศดังเดิม เมื่อแสงตกกระทบกับผิวหน้าของตัวกลางใดๆ ปริมาณและทิศทางของการสะท้อนของแสง จะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับธรรมชาติของพื้นผิวหน้าของตัวกลางที่ตกกระทบ จากรูป เมื่อลำแสงขนานตกกระทบพื้นผิวหน้าวัตถุที่เรียบ แสงจะสะท้อนเป็นลำแสงขนานเหมือนกับลำแสงที่ตกกระทบ การสะท้อนบนพื้นผิวหน้าที่เรียบ โดยเรียกว่า การสะท้อนแบบสม่ำเสมอ
 
สีของแสง
การมองเห็นสีต่าง ๆ บนวัตถุเกิดจากการผสมของแสงสี เช่น แสงขาวอาจเกิดจากแสงเพียง 3 สีรวมกัน แสงทั้ง 3 สี ได้แก่ แสงสีแดง แสงสีเขียว และแสงสีน้ำเงิน หรือเรียกว่า สีปฐมภูมิ และถ้านำแสงที่เกิดจากการผสมกันของสีปฐมภูมิ 2 สีมารวมกันจะเกิดเป็น สีทุติยภูมิ ซึ่งสีทุตยภูมิแต่ละสีจะมีความแตกต่างกันในระดับความเข้มสีและความสว่างของแสง
 
การหักเหของแสง
เมื่อแสงเดินทางผ่านวัตถุหรือตัวกลางโปร่งใส เช่น อากาศ แก้ว น้ำ พลาสติกใส แสงจะสามารถเดินทางผ่านได้เกือบหมด เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางชนิดเดียวกัน แสงจะเดินทางเป็นเส้นตรงเสมอ แต่ถ้าแสงเดินทางผ่านตัวกลางหลายตัวกลาง แสงจะหักเห
สาเหตุที่ทำให้แสงเกิดการหักเห
เกิดจากการเดินทางของแสงจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งซึ่งมีความหนาแน่นแตกต่างกัน จะมีความเร็วไม่เท่ากันด้วย โดยแสงจะเคลื่อนที่ในตัวกลางโปร่งกว่าได้เร็วกว่าตัวกลางที่ทึบกว่า เช่น ความเร็วของแสงในอากาศมากกว่าความเร็วของแสงในน้ำ และความเร็วของแสงในน้ำมากกว่าความเร็วของแสงในแก้วหรือพลาสติก
การที่แสงเคลื่อนที่ผ่านอากาศและแก้วไม่เป็นแนวเส้นตรงเดียวกันเพราะเกิดการหักเหของแสง โดยแสงจะเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า ( โปร่งกว่า) ไปยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่า ( ทึบกว่า) แสงจะหักเหเข้าหาเส้นปกติ ในทางตรงข้าม ถ้าแสงเดินทางจากยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่า ไปยังตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า แสงจะหักเหออกจากเส้นปกติ
 

วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2

กิจกรรม
-อาจารย์ให้จับกลุ่มละ 6 คน แล้วออกไปนำเสนอผลงานในรุปแบบต่างๆ

เนื้อหา
-พํฒนาการทางสติปัญญา
        พัฒนาการทางสติปัญญา คือ ความสามารถในการคิด พัฒนามาจากการมีปฎิสมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม กระบวนการปฎิสัมพันธ์ มี2กระบวนการ คือ
1.กระบวนการดูดซึม
     มนุษย์มีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมก็จะซึมซาบหรือดูดซึมประสบการณ์ให่ๆให้เข้ากับโครงสร้างของปัญญา เช่น การรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม
2.กระบวนการปรับโครงสร้าง
     การเปี่ยนโครงสร้างของเชาว์ปัญญาให้เข้ากับสิ่งแวดล้มหรือประสบการณ์ใหม่ซึ่งเป็นความสามารถในการปรับโครงสร้างทางปัญญา

ความสำคัญของวิทยาศาสตร์


       วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับชีวิตของทกคนทั้งในการดำรงชีวิตประจำวัน และในงานอาชีพต่างๆความรู้วิทยาศาสตร์ช่วยให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยี ทำให้ได้รู้จักพัฒนาวิธีคิด คิดเป็นเหตุผล คิดร้างสรรค์และสามารถแก้ปัญหาอย่างป็นระบบได้

วันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนครั้งที่ 1

- วันนี้อ.จ๋าได้พูดถึงชื่อวิชา "การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย"  กับ "วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย"  ว่าต่างกันตรงคำว่า การจัดประสบการณ์ = การสอนที่เด็กได้ลงมือกระทำ
-อ.จ๋าได้ตั้งคำถามขึ้นว่า คำว่า วิทยาศาสตร์ เราจะนึกถึงอะไรบ้าง
-อ.ได้ให้เขียนว่า คาดหวังอะไรกับวิชานี้บ้าง ลงในกระดาษ
-ความหมายของพัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่องตามช่วงอายุ พัฒนาการเป็นตัวบ่งบอกว่าเด็กทำอะไรได้บ้างในช่วงอายุนั้นๆ  โดยจะใช้พัฒนาการเป็นเกณฑ์
-ผลลัพธ์การเรียนรู้