วันศุกร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2556



บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่18



สรุปงานวิจัย
 เรื่อง   ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน
             

ปริญญานิพนธ์   ของ  ศศิพรรณ สําแดงเดช   มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


ความสําคัญของการวิจัย

       ผลของการศกษาค ้นควาครั้งนี้จะเปนแนวทางใหกับครูและผูทเกี่ ี่ยวของกับการศึกษา

ปฐมวัยไดตระหนัก และเขาใจถึงความสําคัญในการสงเสริมทักษะพื้นฐานทางวทยาศาสตร์ให้กับเด็ก

ปฐมวัยดวยการทำกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน รวมทั้งเปนแนวทางในการทำกิจกรรมการ
ทดลองหลังการฟงนิทานใหมีความหมายและเกิดประโยชนตอการพัฒนาเด็กปฐมวัย

ความมุงหมายของการวิจัย


1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพนฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยทไดี่ รับการจัดกิจกรรม

การทดลองหลังการฟงนิทาน กอนและหลังการทดลอง
 2. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวยที่ไดรับ
การจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน กอนและหลังการทดลอง


คุณคาและประโยชนของนิทานที่มีตอเด็กปฐมวัย




เกริก ยุนพันธ (2539: 29) ไดกลาวถึงประโยชนของการเลานิทานดังนี้

 1. เด็กๆ หรือผูฟงจะเกิดความรูสึกอบอุนหรือใกลชิดเปนก ันเองกับผูเลา
 2. เด็กๆ หรือผูฟงจะเกิด ความรูสึกรวมในขณะฟง ทําใหเขาเกิดความเพลิดเพลนผิ อน
คลาย และสดชื่นแจมใส
 3. เด็กๆ หรือผูฟงจะมีสมาธิหรือความตงใจท ั้ ี่มีระยะเวลานานขึ้นหรอยาวข ื ึ้น โดยเฉพาะ
ผูเลาที่มีความสามารถในการตรึงใหผูฟงหรือเด็กๆ ใจจดจออยูกับเรื่องราวที่ผูเลาเลาเร ื่องที่มีขนาดยาว
 4. เด็กหรือผูฟงจะถูกกลอมเกลาดวยนทานท ิ ี่มีเนื้อหาสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรม
ทําใหเด็กๆ และผูฟงเขาใจในความดีและความงามยิ่งขึ้น
 5. นิทานจะทําใหเด็กๆ หรือผูฟงมีความละเอียดออนรูจักการรับและการใหมองโลกใน
แงดี
 6. นิทานจะทําใหเด็กหรือผูฟงสามารถใชกระบวนการค  ดในการพ ิ ิจารณาแกปญหาได
 7. นิทานสามารถสรางความกลาใหกับเดกๆ็ หรือผูฟงโดยการแสดงออกผาน
กระบวนการคดทิ ี่มีประสิทธภาพ ิ
 8. เด็กๆ และผูฟงจะไดความร  ูที่เปนประโยชน  และสามารถประยุกตใชกับชวีตประจ ิ ําวันได
 9. นิทานชวยเสริมสรางจินตนาการที่กวางไกลไร  ขอบเขตใหกับเด็กหรือผูฟง
 10. นิทานสามารถชวยเด็กๆ และผูฟงได  รูจักการใชภาษาที่ถูกตอง

รูปแบบของการเลาน ิทาน

เกริก ยุนพันธ (2539: 36-55) ไดกลาวถงรึ ูปแบบของการเลานิทานดังนี้

 1. การเลานิทานปากเปลาเปนนิทานที่ผูเลาเรื่องจะตองเตรียมตวใหั พรอม ตั้งแต
การเลือกเรื่องใหเหมาะสมและสอดคลองกับกลุมผูฟง นิทานปากเปลาเปนนิทานที่ดึงดูดและเรา
ความสนใจของผูฟงดวย น้ําเสียงแววตาลีลาและทาทางประกอบการเลาของผูเลาที่สงางามและ
พอเหมาะพอดี27 
 2. นิทานวาดไปเลาไป  เปนการเลานิทานที่ผูเลาตองมีประสบการณการเลาน ิทาน
แบบปากเปลาอย  ูมากพอสมควรแตจะตองเพ  ิ่มการวาดรูปในขณะเลาเรื่องราวรปทู ี่วาดขณะเลา
เรื่องนี้ภาพที่วาดออกมาอาจสอดคลองกับเรื่องที่เลา หรือบางครั้งเมื่อเลาจบ รูปทวาดจะไม ี่ 
สอดคลองกับเรื่องที่เลาเลยก็ไดคือจะไดภาพใหมเกิดขึ้น
 3. นิทานที่เลาโดยใชสื่ออุปกรณขณะเลาเปนนิทานที่ผูเลาจะตองใชสื่อทจี่ ัดเตรียม
หรือหามาเพื่อใชประกอบการเลาเชน การเลาโดยใชหน ังสือ นิทานหุนนิ้ว นิทานเชิด นิทานเชือก
เปนตน ขณะเลาอาจมีดนตรีประกอบหรอเคร ื ื่องดนตรีประกอบจังหวะเพื่อประกอบการเลาให
สนุกสนานยิ่งขึ้น


หลักในการเลือกนิทานที่จะนํามาเลาใหเด็กฟง



พรจันทรจันทรวิมล (2529: 104) ไดใหหลักเกณฑในการเลือกนิทานดังนี้

1. เปนเรื่องงายๆ แตสมบูรณเนนเหตุการณอยางเดยวให ี เด็กพอคาดคะเนเรื่อง
ไดบาง
 2. มีการเดินเรื่องอยางรวดเร็ว
 3. ตัวละครนอย มีลักษณะเดนที่จําไดงาย เด็กอาจสมมติตวแทนได ั 
 4. มีบทสนทนามากๆ เพราะเด็กสวนมากไมสามารถฟงเรื่องที่เปนความเรียงไดดี
 5. ใชภาษางายๆ ประโยคสนๆั้ การกลาวคําซ้ําๆ หรือคําสัมผัสจะชวยใหเด็ก
จดจําไดงายและรวดเรว็
 6. สรางความรูสึกความพอใจใหกับผูฟง
 7. เปนเรื่องใกลตวเด ั ็ก เชน ครอบครัวสัตวเล ี้ยง หรอเร ื ื่องที่เด็กจินตนาการตามได
 8. ความยาวไมเกิน 15 นาที
อุไรวรรณ โชติชุษณะ(2547: 53) กลาววาในการเลาเร ื่อง หรือการเลานิทานใหแก เด็ก
ผูเลาสามารถเลือกใชวิธีการเลาที่หลากหลายไดโดยเลอกว ื ิธีการเลาดวยปากเปลา การเลาประกอบ
ทาทาง การเลาประกอบอ  ุปกรณการเลาประกอบภาพ การเลาประกอบเสียงโดยเลือกใชวธิีการ
อยางใดอย  างหนึ่ง หรือใชวิธีการเลาหลายอยางประกอบก็ไดเพื่อเปนการกระตุนความสนใจใหแก 
เด็ก และเปนการสงเสริมจินตนาการใหแก 

สรุป  

ไดวาวิธการเลานิทานนนั้ จะตองประกอบไปดวย การเลือกเรื่องที่จะใชเลา
การดัดแปลงเนื้อเรื่องใหเหมาะสมกับกลมผุ ฟู ง การเตรียมตวและจัดเตรียมสื่อการเลานิทานของผูเลา
การลงมือเลานิทาน ผูเลาจะตองเลาใหราบรื่นโดยตลอด ดวยรูปแบบและเทคนิคเฉพาะของผูเลาเอง 
สถานที่และเวลาที่ใชเล านิทาน ผูเลาจะตองพิจารณาเพื่อความเหมาะสม และมีกระบวนการเลาท ี่ดี
ตั้งแตการเริ่มเรื่อง การดําเนินเรื่องและการจบเรื่อง




แผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทานเพื่อพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร


  

 เรื่อง     ลูกไกกับลูกเปด

1.จุดประสงคการเรียนรู้

เมื่อเด็กไดฟงนิทานที่ครูเลาแลว สามารถตอบคําถามและทํากิจกรรมทดลองเกี่ยวกับเรื่องการ
ทดลองเรื่องลอย-จมของวัตถุ
2. กิจกรรมการเลานิทาน
 2.1 ขั้นนํา ครูและเดกร็ วมกนรั องเพลงประกอบทาทางลูกเปด และสนทนาเกยวกี่ ับนิทานที่
ครูจะเลาดังนี้
 - นิทานที่ครูจะเลาวันนี้เปนเรื่องลูกไกกับลกเปู ดที่เปนเพ อนก ื่ ันทั้งสองตางก็ผจญภยไปในท ั ี่
ตางๆมากมาย
 2.2 ขั้นเลานิทาน ครูเลานิทานประกอบภาพและชักชวนใหเดกส็ ังเกตถึงชวงของนิทานที่มี
เรื่องการลอยหรือจมของวตถั ุครูซักถามใหเด็กๆ ตอบ
เนื้อเร่องื
กก
-หลังจากเด็กฟงนิทานและรวมตอบคําถาม ครูชักชวนเด็กๆทําการทดลองเกี่ยวกับการทํากิจกรรมการ
ทดลองเรื่อง “ ลอย-จม”
อุปกรณ
1. กะละมังใสน้ําประมาณ 3 ใน 4 สวน
2. กลองดําที่ทําชองใหมือลวงเขาไปได
3. วัตถุที่ลอยน้ําได 5 ชิ้นวตถั ุที่จมน้ํา 5 ชิ้น (วัตถุที่มีสีตางๆจะช  วยดึงดูดความสนใจของเด็ก)
วันหนึ่งในฤดูฝน เมฆตั้งเคาดําทะมึน ไมนานฝนก็ตกลงมาฝนตกหนักมาก พายุก็พัดแรง ตนไมใหญ
หลายตนทานพายุไมไหวก็หักโคนลงมา ตนไมใหญไมรูจักหลบพายุตนออตนกกขึ้นอยูในน้ํา ตนออตนกกไม
เกรงพายุมันเอนตนออนไปมาตนออตนกกรูจักหลบพายุที่สระน้ําแหงหนึ่ง น้ําใสสะอาดมีฝูงปลาวายไปมา
บางก็ฮุบกินอาหารกอบัวขึ้นอยูในน้ําชูดอกไสวฝูงผึ้งบินหาเกสรดอกไมลูกไกบินขึ้นหลังลูกเปดลูกเปดพา
ลูกไกวายน้ําอยางสุขสําราญลูกไกไมกลัวจมน้ําเพราะมีลูกเปดคอยชวยเมื่อมันเลนจนพอใจแลวก็ชวนกันขึ้น
จากน้ําเดินกลับบาน “กิ๋วๆ” ลูกเปดรอง “เจี๊ยบๆ” ลูกไกรองบางในทันใดนั้นลูกไกก็ตกหลุมขางทาง “เจี๊ยบๆ
ชวยดวย” ลูกไกรองลั่น “กิ๋ว ๆรอเดี๋ยวนะ ฉันจะชวยเธอ” ลูกเปดตอบ ลูกเปดวิ่งไปหาแขนงไมยาวๆ มาสงให
ลูกไกลูกไกใชจะงอยปากคาบไมปนขึ้นมาได “ขอบใจเพื่อนมาก” ลูกไกเอาปกโอบกอดเพื่อนลูกเปดไม
ทอดทิ้งลูกไกใหตกอยูในหลุม วันตอมาลูกเปดกับลูกไกก็ไปเที่ยวยังสระน้ําที่เดิมอีก พอเลนน้ําเสร็จก็พากัน
เดินกลับบาน เผอิญลูกเปดเหยียบพลาดจึงตกหลุมเดินนั่นอีก “ กิ๋วๆชวยดวย” ลูกเปดรอง “เจี๊ยบๆ รอเดี๋ยวนะ
ฉันจะชวยเธอ” ลูกไกตอบลูกไกวิ่งไปหาแขนงไมมาใหลูกเปดจับปนขึ้นมาแตลูกเปดวายน้ําจนหมดแรงจึงปน
ขึ้นมาไมไหวไดแตนั่งคอตกหมดหวัง มันไมสงเสียงรองอีกตอไป “เจี๊ยบๆ รอเดี๋ยวนะ ฉันจะหาวิธีใหม” 
ลูกไกวิ่งไปตักน้ํามาใสหลุม มันวิ่งไปตักน้ําหลายเที่ยวจนแทบหมดแรงแตมันไมทอถอยพยายามตอไปลูกไก
รักเพื่อนของมัน ไมนานนักลูกไกก็ตักน้ําใสหลุมจนเต็มลูกเปดจึงลอยขึ้นมาได(ทําไมลูกเปดจึงลอยน้ําได
ทักษะการสังเกต การสื่อสาร) “ขอบใจเพื่อนมากจะเราไปหาอะไรมากถมหลุมเถอะจะไดไมมีใครตกหลุมอีก” 
“ดีจริงๆ” ลูกไกเห็นดวย ทั้งลูกไกและลูกเปดชวยกันขนดินไปถมในหลุมนั้นจนเต็ม มันเอาเทาเหยียบดินจน
แนนเปนพื้นเดียวกันลูกไกกับลูกเปดจึงไมตกหลุมอีกหานแมว สุนัขและใครๆ ก็ไมเคยตกหลุมอีกลูกไกกับ
ลูกเปดเปนเพื่อนรักกันยิ่งกวาเดิมเพราะมันรูจักแกปญหารวมกัน78

วิธีทดลอง

1. ใหเด็กหยิบลกปู งปองกับมะนาวในกลองดําขึ้นมา (เด็กๆมองไมเห็นวัตถุในกลองจะตองใชวิธี
สัมผัสและเดาจึงจะไดผลมะนาวและลูกปงปอง) 
2. ปลอยลูกปงปองและผลมะนาวลงไปในอางน  ้ําใหสังเกตวาเกิดอะไรขึ้น
คําถาม
- ลูกปงปองและมะนาวมีรูปรางอยางไร ผิวเรียบหรือไม
- ลูกปงปองกับมะนาวอะไรหนักกวากัน
- เมื่อปลอยลูกปงปองและมะนาวลงไปในอางน้ําลูกปงปองอยูบนน้ําหรืออยูใตน้ํา มะนาวอยูบนน้ําหรือ
อยูใตน้ํา
* ครูอธิบายใหเด็กรูจักคําวาลอยและจม โดยสังเกตลูกปงปองอยูบนผิวน้ําเรียกวาลอยน  ้ําสวน
ผลมะนาวอยูใตน้ําเรียกวาจมน้ําแนวคิดเบื้องตนที่เดกๆระด ็ ับอนุบาลจะไดจากการทดลองนี้คือสิ่งที่
เบาจะลอยน้ําสิ่งที่หนักจะจมน้ํา
2.3 . ขั้นสรุป
การวัดและประเมินผลการทากํ ิจกรรมการทดลอง
 - สังเกต จากความสนใจและการมีสวนรวมในการทําการทดลอง
 - การตอบคําถามของเดก็
คําถาม
‐ คอปเตอรของใครรอนไดสวยกวากัน
‐ อะไรชวยใหคอปเตอรรอนได
2.3 ขั้นสรุป
การวัดและประเมินผลการเลานิทาน
 - สังเกต จากความสนใจและการมีสวนรวมในการเลานิทาน


วันอังคารที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่17


อาจารย์พูดเรื่องการทำบล็อก  และ เรื่อง ข้อสอบ 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน  ได้แก่      
1.   ทักษะการสังเกต      
2.   ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล      
3.   ทักษะการจำแนกประเภท     
4.   ทักษะการวัด             
5.   ทักษะการใช้ตัวเลข                          
6.   ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล    
7.   ทักษะการพยากรณ์  
8.   ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา

 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสม  ได้แก่      
1.   ทักษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร   
2.   ทักษะการตั้งสมมุติฐาน     
3.   ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ   
4.   ทักษะการทดลอง       
5.   ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป



อาจารย์ให้ส่งงานของเล่นของแต่ละคนที่ได้ทำมา และให้ส่งงานกลุ่มที่ทำของเล่นเข้ามุม




เพิ่มเติม



วันอังคารที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2556


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่16

     อาจารย์ให้เพื่อนที่เขียนแผนทำแกงจืด ที่แต่ละกลุ่มได้เลือกทำแกงจืดในสัปดาห์ที่แล้ว นำมาสอนให้กับเพื่อนๆในห้อง วิธีการทำแกงจืดดังนี้


ขั้นตอนการทำแกงจืดแฟนตาซี






คาวมรู้เพิ่มเติม





วันอังคารที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2556


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่15


   เรียนกับอาจารย์ ตฤณ แจ่มถิน

          - อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม กลุ่มละ 8-10 คน และแจกกระดาษให้กลุ่มละ 4 แผ่น ได้เรียนเกี่ยวกับการเขียนแผน การจัดประสบการณ์การทำอาหาร ดังนี้

ให้ความหมายของคำว่า cooking แล้วสรุปออกมา ได้ดังนี้




วิธีการทำราดหน้า




ทำแผนการสอนเรื่อง มาทำราดหน้ากันเถอะ




การทำแผน Cooking ของกลุ่มเพื่อนๆ





วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2556



บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่14


วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน2556 เรียนชดเชยที่หยุดไปวันจันทร์ที่ 9กันยายน 2556


กิจกรรม

อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอสื่อเข้ามุมวิทยาศาสตร์ กลุ่มดิฉันนำเสนอ "เขาวงกต"





ผลงานของเพื่อนๆ ที่ยังค้างจากวันจันทร์




วันอังคารที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2556


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่13







  ไม่มีการเรียนการสอนเพราะอาจารย์ติดธุระ นัดเรียนชดเชยในวัน อาทิตย์ ที่ 15 กันายน2556 





บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่13


อาจารย์ให้แต่ล่ะกลุ่มนำเสนอของเข้ามุม

กลุ่ม 1 การมองเห็นของผ่านวัตถุโปร่งใส โปร่งแสง และทึบแสง
กลุ่ม 2 กล่องนำแสง
กลุ่ม 3 สัตว์ไต่เชือก
กลุ่ม 4 กีตาร์กล่อง
กลุ่ม 5 วงจรผีเสื้อและไก่
กลุ่ม 6 เขาวงกต
กลุ่ม 7 มองวัตถุผ่าแว่นขยาย
กลุ่ม8 ภาพมิติ
กลุม9กล่องดนตรี
กลุ่ม10วงจรชีวิต
กลุ่ม11 ซู่โม้


ผลงานเพื่อนๆแต่ละกลุ่มที่ได้นำเสนองานมีดังนี้




เพิ่มเติม