วันศุกร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2556



บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่18



สรุปงานวิจัย
 เรื่อง   ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน
             

ปริญญานิพนธ์   ของ  ศศิพรรณ สําแดงเดช   มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


ความสําคัญของการวิจัย

       ผลของการศกษาค ้นควาครั้งนี้จะเปนแนวทางใหกับครูและผูทเกี่ ี่ยวของกับการศึกษา

ปฐมวัยไดตระหนัก และเขาใจถึงความสําคัญในการสงเสริมทักษะพื้นฐานทางวทยาศาสตร์ให้กับเด็ก

ปฐมวัยดวยการทำกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน รวมทั้งเปนแนวทางในการทำกิจกรรมการ
ทดลองหลังการฟงนิทานใหมีความหมายและเกิดประโยชนตอการพัฒนาเด็กปฐมวัย

ความมุงหมายของการวิจัย


1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพนฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยทไดี่ รับการจัดกิจกรรม

การทดลองหลังการฟงนิทาน กอนและหลังการทดลอง
 2. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวยที่ไดรับ
การจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน กอนและหลังการทดลอง


คุณคาและประโยชนของนิทานที่มีตอเด็กปฐมวัย




เกริก ยุนพันธ (2539: 29) ไดกลาวถึงประโยชนของการเลานิทานดังนี้

 1. เด็กๆ หรือผูฟงจะเกิดความรูสึกอบอุนหรือใกลชิดเปนก ันเองกับผูเลา
 2. เด็กๆ หรือผูฟงจะเกิด ความรูสึกรวมในขณะฟง ทําใหเขาเกิดความเพลิดเพลนผิ อน
คลาย และสดชื่นแจมใส
 3. เด็กๆ หรือผูฟงจะมีสมาธิหรือความตงใจท ั้ ี่มีระยะเวลานานขึ้นหรอยาวข ื ึ้น โดยเฉพาะ
ผูเลาที่มีความสามารถในการตรึงใหผูฟงหรือเด็กๆ ใจจดจออยูกับเรื่องราวที่ผูเลาเลาเร ื่องที่มีขนาดยาว
 4. เด็กหรือผูฟงจะถูกกลอมเกลาดวยนทานท ิ ี่มีเนื้อหาสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรม
ทําใหเด็กๆ และผูฟงเขาใจในความดีและความงามยิ่งขึ้น
 5. นิทานจะทําใหเด็กๆ หรือผูฟงมีความละเอียดออนรูจักการรับและการใหมองโลกใน
แงดี
 6. นิทานจะทําใหเด็กหรือผูฟงสามารถใชกระบวนการค  ดในการพ ิ ิจารณาแกปญหาได
 7. นิทานสามารถสรางความกลาใหกับเดกๆ็ หรือผูฟงโดยการแสดงออกผาน
กระบวนการคดทิ ี่มีประสิทธภาพ ิ
 8. เด็กๆ และผูฟงจะไดความร  ูที่เปนประโยชน  และสามารถประยุกตใชกับชวีตประจ ิ ําวันได
 9. นิทานชวยเสริมสรางจินตนาการที่กวางไกลไร  ขอบเขตใหกับเด็กหรือผูฟง
 10. นิทานสามารถชวยเด็กๆ และผูฟงได  รูจักการใชภาษาที่ถูกตอง

รูปแบบของการเลาน ิทาน

เกริก ยุนพันธ (2539: 36-55) ไดกลาวถงรึ ูปแบบของการเลานิทานดังนี้

 1. การเลานิทานปากเปลาเปนนิทานที่ผูเลาเรื่องจะตองเตรียมตวใหั พรอม ตั้งแต
การเลือกเรื่องใหเหมาะสมและสอดคลองกับกลุมผูฟง นิทานปากเปลาเปนนิทานที่ดึงดูดและเรา
ความสนใจของผูฟงดวย น้ําเสียงแววตาลีลาและทาทางประกอบการเลาของผูเลาที่สงางามและ
พอเหมาะพอดี27 
 2. นิทานวาดไปเลาไป  เปนการเลานิทานที่ผูเลาตองมีประสบการณการเลาน ิทาน
แบบปากเปลาอย  ูมากพอสมควรแตจะตองเพ  ิ่มการวาดรูปในขณะเลาเรื่องราวรปทู ี่วาดขณะเลา
เรื่องนี้ภาพที่วาดออกมาอาจสอดคลองกับเรื่องที่เลา หรือบางครั้งเมื่อเลาจบ รูปทวาดจะไม ี่ 
สอดคลองกับเรื่องที่เลาเลยก็ไดคือจะไดภาพใหมเกิดขึ้น
 3. นิทานที่เลาโดยใชสื่ออุปกรณขณะเลาเปนนิทานที่ผูเลาจะตองใชสื่อทจี่ ัดเตรียม
หรือหามาเพื่อใชประกอบการเลาเชน การเลาโดยใชหน ังสือ นิทานหุนนิ้ว นิทานเชิด นิทานเชือก
เปนตน ขณะเลาอาจมีดนตรีประกอบหรอเคร ื ื่องดนตรีประกอบจังหวะเพื่อประกอบการเลาให
สนุกสนานยิ่งขึ้น


หลักในการเลือกนิทานที่จะนํามาเลาใหเด็กฟง



พรจันทรจันทรวิมล (2529: 104) ไดใหหลักเกณฑในการเลือกนิทานดังนี้

1. เปนเรื่องงายๆ แตสมบูรณเนนเหตุการณอยางเดยวให ี เด็กพอคาดคะเนเรื่อง
ไดบาง
 2. มีการเดินเรื่องอยางรวดเร็ว
 3. ตัวละครนอย มีลักษณะเดนที่จําไดงาย เด็กอาจสมมติตวแทนได ั 
 4. มีบทสนทนามากๆ เพราะเด็กสวนมากไมสามารถฟงเรื่องที่เปนความเรียงไดดี
 5. ใชภาษางายๆ ประโยคสนๆั้ การกลาวคําซ้ําๆ หรือคําสัมผัสจะชวยใหเด็ก
จดจําไดงายและรวดเรว็
 6. สรางความรูสึกความพอใจใหกับผูฟง
 7. เปนเรื่องใกลตวเด ั ็ก เชน ครอบครัวสัตวเล ี้ยง หรอเร ื ื่องที่เด็กจินตนาการตามได
 8. ความยาวไมเกิน 15 นาที
อุไรวรรณ โชติชุษณะ(2547: 53) กลาววาในการเลาเร ื่อง หรือการเลานิทานใหแก เด็ก
ผูเลาสามารถเลือกใชวิธีการเลาที่หลากหลายไดโดยเลอกว ื ิธีการเลาดวยปากเปลา การเลาประกอบ
ทาทาง การเลาประกอบอ  ุปกรณการเลาประกอบภาพ การเลาประกอบเสียงโดยเลือกใชวธิีการ
อยางใดอย  างหนึ่ง หรือใชวิธีการเลาหลายอยางประกอบก็ไดเพื่อเปนการกระตุนความสนใจใหแก 
เด็ก และเปนการสงเสริมจินตนาการใหแก 

สรุป  

ไดวาวิธการเลานิทานนนั้ จะตองประกอบไปดวย การเลือกเรื่องที่จะใชเลา
การดัดแปลงเนื้อเรื่องใหเหมาะสมกับกลมผุ ฟู ง การเตรียมตวและจัดเตรียมสื่อการเลานิทานของผูเลา
การลงมือเลานิทาน ผูเลาจะตองเลาใหราบรื่นโดยตลอด ดวยรูปแบบและเทคนิคเฉพาะของผูเลาเอง 
สถานที่และเวลาที่ใชเล านิทาน ผูเลาจะตองพิจารณาเพื่อความเหมาะสม และมีกระบวนการเลาท ี่ดี
ตั้งแตการเริ่มเรื่อง การดําเนินเรื่องและการจบเรื่อง




แผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทานเพื่อพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร


  

 เรื่อง     ลูกไกกับลูกเปด

1.จุดประสงคการเรียนรู้

เมื่อเด็กไดฟงนิทานที่ครูเลาแลว สามารถตอบคําถามและทํากิจกรรมทดลองเกี่ยวกับเรื่องการ
ทดลองเรื่องลอย-จมของวัตถุ
2. กิจกรรมการเลานิทาน
 2.1 ขั้นนํา ครูและเดกร็ วมกนรั องเพลงประกอบทาทางลูกเปด และสนทนาเกยวกี่ ับนิทานที่
ครูจะเลาดังนี้
 - นิทานที่ครูจะเลาวันนี้เปนเรื่องลูกไกกับลกเปู ดที่เปนเพ อนก ื่ ันทั้งสองตางก็ผจญภยไปในท ั ี่
ตางๆมากมาย
 2.2 ขั้นเลานิทาน ครูเลานิทานประกอบภาพและชักชวนใหเดกส็ ังเกตถึงชวงของนิทานที่มี
เรื่องการลอยหรือจมของวตถั ุครูซักถามใหเด็กๆ ตอบ
เนื้อเร่องื
กก
-หลังจากเด็กฟงนิทานและรวมตอบคําถาม ครูชักชวนเด็กๆทําการทดลองเกี่ยวกับการทํากิจกรรมการ
ทดลองเรื่อง “ ลอย-จม”
อุปกรณ
1. กะละมังใสน้ําประมาณ 3 ใน 4 สวน
2. กลองดําที่ทําชองใหมือลวงเขาไปได
3. วัตถุที่ลอยน้ําได 5 ชิ้นวตถั ุที่จมน้ํา 5 ชิ้น (วัตถุที่มีสีตางๆจะช  วยดึงดูดความสนใจของเด็ก)
วันหนึ่งในฤดูฝน เมฆตั้งเคาดําทะมึน ไมนานฝนก็ตกลงมาฝนตกหนักมาก พายุก็พัดแรง ตนไมใหญ
หลายตนทานพายุไมไหวก็หักโคนลงมา ตนไมใหญไมรูจักหลบพายุตนออตนกกขึ้นอยูในน้ํา ตนออตนกกไม
เกรงพายุมันเอนตนออนไปมาตนออตนกกรูจักหลบพายุที่สระน้ําแหงหนึ่ง น้ําใสสะอาดมีฝูงปลาวายไปมา
บางก็ฮุบกินอาหารกอบัวขึ้นอยูในน้ําชูดอกไสวฝูงผึ้งบินหาเกสรดอกไมลูกไกบินขึ้นหลังลูกเปดลูกเปดพา
ลูกไกวายน้ําอยางสุขสําราญลูกไกไมกลัวจมน้ําเพราะมีลูกเปดคอยชวยเมื่อมันเลนจนพอใจแลวก็ชวนกันขึ้น
จากน้ําเดินกลับบาน “กิ๋วๆ” ลูกเปดรอง “เจี๊ยบๆ” ลูกไกรองบางในทันใดนั้นลูกไกก็ตกหลุมขางทาง “เจี๊ยบๆ
ชวยดวย” ลูกไกรองลั่น “กิ๋ว ๆรอเดี๋ยวนะ ฉันจะชวยเธอ” ลูกเปดตอบ ลูกเปดวิ่งไปหาแขนงไมยาวๆ มาสงให
ลูกไกลูกไกใชจะงอยปากคาบไมปนขึ้นมาได “ขอบใจเพื่อนมาก” ลูกไกเอาปกโอบกอดเพื่อนลูกเปดไม
ทอดทิ้งลูกไกใหตกอยูในหลุม วันตอมาลูกเปดกับลูกไกก็ไปเที่ยวยังสระน้ําที่เดิมอีก พอเลนน้ําเสร็จก็พากัน
เดินกลับบาน เผอิญลูกเปดเหยียบพลาดจึงตกหลุมเดินนั่นอีก “ กิ๋วๆชวยดวย” ลูกเปดรอง “เจี๊ยบๆ รอเดี๋ยวนะ
ฉันจะชวยเธอ” ลูกไกตอบลูกไกวิ่งไปหาแขนงไมมาใหลูกเปดจับปนขึ้นมาแตลูกเปดวายน้ําจนหมดแรงจึงปน
ขึ้นมาไมไหวไดแตนั่งคอตกหมดหวัง มันไมสงเสียงรองอีกตอไป “เจี๊ยบๆ รอเดี๋ยวนะ ฉันจะหาวิธีใหม” 
ลูกไกวิ่งไปตักน้ํามาใสหลุม มันวิ่งไปตักน้ําหลายเที่ยวจนแทบหมดแรงแตมันไมทอถอยพยายามตอไปลูกไก
รักเพื่อนของมัน ไมนานนักลูกไกก็ตักน้ําใสหลุมจนเต็มลูกเปดจึงลอยขึ้นมาได(ทําไมลูกเปดจึงลอยน้ําได
ทักษะการสังเกต การสื่อสาร) “ขอบใจเพื่อนมากจะเราไปหาอะไรมากถมหลุมเถอะจะไดไมมีใครตกหลุมอีก” 
“ดีจริงๆ” ลูกไกเห็นดวย ทั้งลูกไกและลูกเปดชวยกันขนดินไปถมในหลุมนั้นจนเต็ม มันเอาเทาเหยียบดินจน
แนนเปนพื้นเดียวกันลูกไกกับลูกเปดจึงไมตกหลุมอีกหานแมว สุนัขและใครๆ ก็ไมเคยตกหลุมอีกลูกไกกับ
ลูกเปดเปนเพื่อนรักกันยิ่งกวาเดิมเพราะมันรูจักแกปญหารวมกัน78

วิธีทดลอง

1. ใหเด็กหยิบลกปู งปองกับมะนาวในกลองดําขึ้นมา (เด็กๆมองไมเห็นวัตถุในกลองจะตองใชวิธี
สัมผัสและเดาจึงจะไดผลมะนาวและลูกปงปอง) 
2. ปลอยลูกปงปองและผลมะนาวลงไปในอางน  ้ําใหสังเกตวาเกิดอะไรขึ้น
คําถาม
- ลูกปงปองและมะนาวมีรูปรางอยางไร ผิวเรียบหรือไม
- ลูกปงปองกับมะนาวอะไรหนักกวากัน
- เมื่อปลอยลูกปงปองและมะนาวลงไปในอางน้ําลูกปงปองอยูบนน้ําหรืออยูใตน้ํา มะนาวอยูบนน้ําหรือ
อยูใตน้ํา
* ครูอธิบายใหเด็กรูจักคําวาลอยและจม โดยสังเกตลูกปงปองอยูบนผิวน้ําเรียกวาลอยน  ้ําสวน
ผลมะนาวอยูใตน้ําเรียกวาจมน้ําแนวคิดเบื้องตนที่เดกๆระด ็ ับอนุบาลจะไดจากการทดลองนี้คือสิ่งที่
เบาจะลอยน้ําสิ่งที่หนักจะจมน้ํา
2.3 . ขั้นสรุป
การวัดและประเมินผลการทากํ ิจกรรมการทดลอง
 - สังเกต จากความสนใจและการมีสวนรวมในการทําการทดลอง
 - การตอบคําถามของเดก็
คําถาม
‐ คอปเตอรของใครรอนไดสวยกวากัน
‐ อะไรชวยใหคอปเตอรรอนได
2.3 ขั้นสรุป
การวัดและประเมินผลการเลานิทาน
 - สังเกต จากความสนใจและการมีสวนรวมในการเลานิทาน


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น